ไมโครพลาสติก – ศูนย์ปฏิบัติการอุทยานแห่งชาติทางทะเล ที่ 3 จ.ตรัง รายงาน การศึกษาไมโครพลาสติกในปลาทู บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง ผลการศึกษาชวนตกตะลึง เพราะพบไมโครพลาสติกในปลาทู
ในการศึกษาไมโครพลาสติกในปลาทูบริเวณเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
เก็บตัวอย่างจากท่าเรือบริเวณหาดเจ้าไหม เพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อนของขยะประเภทไมโครพลาสติกจากการกินอาหารของปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) พบว่าปลาทูขนาดน้ำหนักเฉลี่ย 66.53 ± 1.136 กรัม (ค่าเฉลี่ย ± SE) ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 17.46 ± 0.087 (ค่าเฉลี่ย ± SE) เซนติเมตร มีไมโครพลาสติกในกระเพาะของปลาทูเฉลี่ย 78.04 ± 6.503 ชิ้น/ตัว
พลาสติกที่พบในปลาทูประกอบไปด้วยลักษณะที่เป็นเส้นใย (สีดำน้ำเงิน แดง และเขียว) ชิ้น (สีดำ ขาว แดง น้ำตาล-ส้ม ฟ้า-น้ำเงิน และเหลือง) แท่งสีดำ และกลิตเตอร์ ซึ่งลักษณะของไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดคือ ชิ้นสีดำ ด้วยค่าร้อยละ 33.96
ไมโครพลาสติก – ศูนย์ปฏิบัติการอุทยานแห่งชาติทางทะเล ที่ 3 จ.ตรัง รายงาน การศึกษาไมโครพลาสติกในปลาทู บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง ผลการศึกษาชวนตกตะลึง เพราะพบไมโครพลาสติกในปลาทู
ในการศึกษาไมโครพลาสติกในปลาทูบริเวณเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง เก็บตัวอย่างจากท่าเรือบริเวณหาดเจ้าไหม เพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อนของขยะประเภทไมโครพลาสติกจากการกินอาหารของปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851)
พบว่าปลาทูขนาดน้ำหนักเฉลี่ย 66.53 ± 1.136 กรัม (ค่าเฉลี่ย ± SE) ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 17.46 ± 0.087 (ค่าเฉลี่ย ± SE) เซนติเมตร มีไมโครพลาสติกในกระเพาะของปลาทูเฉลี่ย 78.04 ± 6.503 ชิ้น/ตัว
พลาสติกที่พบในปลาทูประกอบไปด้วยลักษณะที่เป็นเส้นใย (สีดำน้ำเงิน แดง และเขียว) ชิ้น (สีดำ ขาว แดง น้ำตาล-ส้ม ฟ้า-น้ำเงิน และเหลือง) แท่งสีดำ และกลิตเตอร์ ซึ่งลักษณะของไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดคือ ชิ้นสีดำ ด้วยค่าร้อยละ 33.96
ทีมนักวิจัยตรวจสอบพบว่าเป็นเส้นใยในอุตสาหกรรมสิ่งทอ และคิดว่าน่าจะหลุดรอดออกมาจากเครื่องซักผ้า
“แอมฟิพอดหลงกินเส้นใยเหล่านี้เพราะมันมีขนาดใกล้เคียงกับแพลงตอนพืชที่เป็นอาหาร ปลาและสัตว์น้ำที่กินแอมฟิพอดเป็นอาหารจึงส่งต่อไมโครพลาสติกเข้าสู่ห่วงโซ่อาหาร เราเริ่มพบว่าวาฬที่เข้ามาเกยตื้นบางตัวมีชิ้นส่วนพลาสติกเล็กๆเหล่านี้เคลือบอยู่ในลำไส้”
ปัจุบันคาดการณ์กันว่ามีพลาสติกราว 51 ล้านล้านชิ้นในมหาสมุทร และส่วนใหญ่ 90% คือไมโครพลาสติกชิ้นเล็กๆ
เจ้าของร้านแหลมเกตถูกจับ หลังดราม่าบุฟเฟ่ต์ซีฟู้ด
วันนี้ (10 ก.ย.) มีรายงานว่าเจ้าของร้านอาหารแหลมเกต และบริษัท แหลมเกต อินฟินิท จำกัด นายอพิชาต บวรบัญชารักข์ หรือ นายโจม พารณจุลกะ ถูกจับกุมได้เมื่อวันที่ 6 ก.ย.ที่ผ่านมา หลังมีกรณีการขายบุฟเฟ่ต์อาหารทะเลในราคาถูก ที่มีคุณภาพต่ำและรองรับคนจำนวนมากไม่ไหว
นายอพิชาต ถูกจับกุม ในข้อหา ‘ร่วมกันก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิดคุณภาพ ปริมาณในสินค้าหรือบริการด้วยการโฆษณาข้อความอันเป็นเท็จ และร่วมกันฉ้อโกงประชาชน’ โดยหมายจับลงวันที่ 24 ก.ค. 2562 และถูกจับกุมได้ที่ ซอยพหลโยธิน 11 กทม. ก่อนจะถูกนำไปฝากขังผลัดแรกที่ศาลอาญาเมื่อวันที่ 7 ก.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งนายอพิชาต ได้ขอให้การในชั้นศาล พนักงานสอบสวนจึงได้คัดค้านการประกันตัวเพราะเกรงว่าจะหลบหนี
ก่อนหน้าที่จะเกิดคดีนี้ ทางร้านแหลมเกตมีโปรโมชั่นขายบุฟเฟ่ต์อาหารทะเลราคาถูก แต่เมื่อมีผู้ซื้อเข้าไปกินจริงๆ กลับพบว่า อาหารและบริการไม่สามารถรองรับคนจำนวนมากได้ อีกทั้งวัตถุดิบและอาหารยังมีคุณภาพต่ำ จนร้านต้องระงับการบริการ แต่ติดตรงที่ทางร้านได้ขายโปรโมชั่นเหล่านี้ไปแล้วล่วงหน้าจำนวนมาก และจำเป็นต้องคืนเงินให้ผู้ซื้อ ต่อมาร้านก็ปิดตัวลงเงียบๆ อย่างถาวร แต่อ้างเหตุผลว่าปิดปรับปรุงร้าน นอกจากนี้ ยังมีแม่ค้าส่งอาหารทะเลที่ออกมาระบุว่า ตนได้รับผลกระทบเพราะเช็กที่ทางร้านออกให้เพื่อจ่ายค่าวัตถุดิบนั้น ยังไม่สามารถขึ้นเงินได้
ขียนข่าวว่ากระผมหนีคดี ในขณะที่กระผมไม่ได้แหกคุก ไม่ได้หนีไปต่างประเทศ ไม่ได้ถูกไล่ล่า ขอให้สังคมช่วยพิจารณาว่า สำนักข่าวข้างต้นรายงานข่าวว่ากระผมหนีคดีนั้นเป็นการสมควรและเหมาะสมหรือไม่ครับ ส่วนสาเหตุที่นางเอตกลงไปนั้น นางพรพิศเล่าว่า ปกติฝาบ่อจะปิดไว้ตลอด แต่ตอนที่เกิดเหตุ ไม่แน่ใจว่านางเอมีปากเสียงกับสามีแล้วตัดสินใจกระโดดลงไปเองหรือไม่ เนื่องจากทั้งสองทะเลาะกันบ่อย
อย่างไรก็ตาม ทางพนักงานสอบสวนได้เชิญคนขับรถบรรทุกไปสอบปากคำเพิ่มเติม ในเบื้องต้นเกิดจากความประมาทของนายเน ไป้ อู้ ที่ได้ขับรถเสียหลักแหกทางโค้งเข้าไปเฉี่ยวชนในช่องทางเดินรถของนายสมศักดิ์ฯที่ขับขี่แล่นสวนทางมา ส่วนสาเหตุที่แท้จริงจะทำการสอบสวนต่อไป